55. วัดจองคำ ลำปาง,Wat Chong Kham, Lampang.

You are here.,คุนอยู่ที่นี่⇙🚩

๕๕. วัดจองคำ ลำปาง

ตามประเพณีคนไทยใหญ่หรือเงี้ยวในภาคเหนือ วัดสำคัญของบ้านเมืองมักชื่อว่า “วัดจองคำ” มีแถบทุกจังหวัดในแถบภาคเหนือ ลักษณะเด่นของวัดไทยใหญ่ก็คือ ทั้งเขตพุทธาวาสและเขตสังฆาวาส เชื่อมต่อในอาคารหลังเดียวกัน ไม่ได้แยกส่วนกันเช่นวัดไทยในภาคกลาง

วัดจองคำแห่งนี้เป็นสถาปัตยกรรมแบบไทยใหญ่ตามแบบพุกามประเทศ เมืองโบราณได้ขอผาติกรรมจากวัดเดิม ที่อำเภองาว จังหวัดลำปาง อาคารสร้างด้วยไม้สักทั้งหลัง วิหาร ศาลา และกุฏิ รวมอยู่ในชุดเดียวกันหมด หลังคาเป็นชั้นๆ ซ้อนเป็นทรงสูง ต่อด้วยยอดหอทรงแปลก ฝีมือช่างสลักไม้แสดงความองอาจในฝีมือประติมากรรมไทยเหนือเป็นอย่างยิ่ง




55.  Wat Chong Kham, Lampang

According to the traditions of the Shan or Tai Yai who lived in Northern Thailand, most of the temples in the community are often named, “Wat Chong Kham”. The ceremonial quarters and monks’ living quarters at Wat Chong Kham are combined within one building.

Wat Chong Kham displayed at the Ancient City is an unusually old Shan or Tai Yai temple complex.The unique style is rarely seen today. Consequently, the original building that once stood in Ngao in Lampang has been acquired from the monastery.



55. 南邦宗坎寺
南邦宗坎寺位于南邦府的寺庙,特色为美丽的木雕。




55. 람빵 , 쩡캄 사원

태국 북부에 살았던 혹은 타이 야이의 전통에 따르면 공동체의 중요한 사원은 주로 쩡캄(Wat Chong Kham)이라고 이름 붙여졌습니다. 사원은 북부의 대부분 지역에서 찾아볼 있습니다. 흥미롭게도 쩡캄에 위치한 의식을 행하는 장소 승려 거주지는 개의 건물로 합쳐졌습니다. 왜냐하면 몇몇 승려가 사원에 살기 때문이며, 이로써 지역 사람들은 승려와 사원을 동시에 관리할 있게 됩니다. 무앙보란에서 보시는 쩡캄은 현재 보기 드문 파간(Pagan) 건축을 본뜬 (Shan tem) 복합 건물입니다

결과 람빵(Lampang) 지역 으아오(Ngao) 세워진 원래 건물은 승원에서 회수했습니다. 구조 재건축은 건물의 모든 세부 사항을 유지하고, 건축의 원래 형태를 가장 보존하며 매우 공을 들였습니다. 티크 목으로 만들어진 건물은 건물에 위한(성소), 살라(거실), 승려의 거주 공간이 합쳐졌습니다. 북부의 장인정신의 탁월한 작업으로 똑같이 강조된 부분부터 조각된 장식의 다양한 간격까지 감상할 있습니다. 이곳의 모든 세부 사항에서 아름다움을 느껴볼 있습니다




ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น

  เมืองโบราณ สมุทรปราการ  ( รวบรวม เพื่อ รักษา , สืบสาน เพื่อ สร้างสรรค์ , เปิดประตู เพื่อ ส่งผ่าน) ยินดีต้อนรับสู่เมืองโบราณ พิพิธภัณฑ์เอกช...