25. วิหารพระศรีสรรเพชญ อยุธยา,The Wihan at Wat Phra Sri Sanphet, Ayutthaya.

You are here. ,คุณอยู่ที่นี่⇙🚩

๒๕. วิหารวัดพระศรีสรรเพชญ อยุธยา
วิหารพระศรีสรรเพชญ อยู่ในบริเวณพระศรีสรรเพชญ อันเป็นเขตพุทธาวาสในเขตพระราชวังหลวง กรุงศรีอยุธยา สร้างขึ้นในรัชสมัยสมเด็จพระรามาธิบดีที่ ๒ (พ.ศ.๒๐๓๔-๒๐๗๒) เพื่อใช้เป็นที่ประดิษฐานพระพุทธรูปหล่อปางประทับยืนองค์หนึ่งซึ่งหุ้มด้วยทองคำหนัก ๓๔๖.๕  กิโลกรัม (๒๘๖ ชั่ง) มีพระนามว่า “พระศรีสรรเพชญ”

ครั้นเมื่อ พ.ศ. ๒๓๑๐ กรุงศรีอยุธยาเสียแก่พม่า ทหารพม่าได้เอาไฟเผาลอกทองคำที่หุ้มองค์พระไปจนหมดเหลือแต่ซาก ต่อมาพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชโปรดเกล้าฯ ให้นำซากมาบรรจุไว้ในพระเจดีย์ที่ทรงสร้างขึ้นในวัดพระเชตุพนฯ (วัดโพธิ์) กรุงเทพฯ แล้วพระราชทานนามว่า “พระเจดีย์ศรีสรรเพชญดาญาณ”


25. The Wihan  at  Wat Phra Sri Sanphet, Ayutthaya

Wat  Phra Sri Sanphet which is situated within the old Grand Palace of Ayutthaya. It was built in 1499 A.D. to house the golden standing Buddha image, namely “Phra Sri Sanphet”. When the Burmese troops invaded Ayutthaya and burnt the statue down. The wihan or the assembly hall was also destroyed.

King Rama  I,   brought the metal remains back and had them interred in a “chedi”. Specially built for the purpose, in the grounds of Wat Pho and named the chedi, “Phra Chedi Sri Sanphet Chadayan”.

25. 大城司珊佩佛殿
大城司珊佩佛殿是一座大型佛殿,中间有一尊大佛像,为皇室御用之胜地。

25. 아유타야 프라 산펫의 위한 

위한은 아유타야 대궁전 안에 위치한 프라 산펫 왕립 수도원 부지에 있습니다. 구조는

벽돌과 회반죽으로 이어 붙인 넓은 방이 있습니다. 이곳은 프라 산펫이라고 불리는 금으로

서있는 부처상을 모시기 위해 아유타야의 라마티보디 2(Ramathibodi II) 통치 시기(기원후

1491-1529) 중인 기원후 1499년에 건설되었습니다. 부처상은 순금 346.5kg으로 도금되었습

니다. 부처상은 버마(미얀마) 군대가 아유타야에 들어와 부처상을 화재로 소실한 기원

후 1767년까지 아유타야의 주된 부처상이었습니다.


버마장군이
값진 금속을 본국으로 가져갔습니다. 남겨진 것이라곤 동으로 볼품 없는 형상

이었습니다
. 위한 혹은 회관은 파괴되었습니다. 동상이 라마 1 왕에 의해 발견될 재건하기

매우 어려웠습니다. 결과 왕은 방콕으로 남은 부분을 가져와쩨디안에 이것들을 매장했습

니다. 특별히 목적을 위해 구역 안에 건설된 건물에 프라 쩨디 산펫 다얀(Phra Chedi

 Si Sanphet Dayan)이라는 이름을 붙였습니다. 무앙보란 고대 도시에 잇는 아유타야 회관의

소형 모델은 현존하는 부처상과 현재 허물어져 가는 상태를 보존하기 위해 전통 태국식 회관의

구조를 보여주고자 재건되었습니다. 구조물은 원래 크기의 1/2 작습니다.










แนะนำจุดถ่ายภาพเมืองโบราณ 

(Reccomend Photo Spot)


แผนที่เที่ยวชมเมืองโบราณ  (Click > Map)







ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น

  เมืองโบราณ สมุทรปราการ  ( รวบรวม เพื่อ รักษา , สืบสาน เพื่อ สร้างสรรค์ , เปิดประตู เพื่อ ส่งผ่าน) ยินดีต้อนรับสู่เมืองโบราณ พิพิธภัณฑ์เอกช...