15. สวนขวา,The Palace Garden.

You are here.,คุนอยู่ที่นี่⇙🚩

๑๕. สวนขวา

กลุ่มสถาปัตยกรรมแบบจีนแห่งนี้ เชื่อว่าเป็นส่วนหนึ่งของสวนขวาภายในพระบรมมหาราชวัง  ครั้งพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย ซึ่งสร้างไว้เพื่อเป็นที่เสด็จประพาสภายในพระบรมมหาราชวัง เมืองโบราณได้ขอผาติกรรมชิ้นส่วนสิ่งก่อสร้างเหล่านี้มาจาก วัดไผ่เงิน ตำบลตรอกจันทน์ อำเภอยานนาวา กรุงเทพฯ (ปัจจุบันอยู่ใน แขวงบางโคล่ เขตบางคอแหลม กรุงเทพฯ) เพื่อแสดงให้เห็นว่าในช่วงรัตนโกสินทร์ตอนต้น มีศิลปะจีนเข้ามาผสมผสานกับศิลปะไทยอยู่มาก


15.  The Palace Garden

The architectural group in Chinese style is believed to be part of the palace garden of King Rama II. It stood on the grounds of the grand palace and functioned as a private quarter where the king would rest and relax. The garden was dismantled and numerous structures were given over to temples during King Rama III’s reign.

Muangboran the Ancient, Samutprakan purchased all of the original buildings from Wat Phai -
Ngoen in Yannawa, Bangkok, to show the considerable influence of Chinese art in the
Thai court during the early Rattanakosin period.

15. 右园
此右园为本拉達那哥欣王朝皇宫内之公园,公园内有中国风格雕像,并有中式亭子,和雕像。
泰国古城的中式雕像从曼谷延纳瓦庙得到,而此雕像为真正从皇家右园拆除下来的。

15. 궁전 정원 

중국식 건축군은 라마 2 (King Rama Il) 대규모 궁전 정원에 참여했다고 추정됩니다. 정원은 해체되어 라마 3 왕의 시대에 여러 구조물이 일부 사찰에 넘겨졌습니다. 예를 들어 중국 호랑와 중국어 형상을 조각한 돌판, 정교하게 세공한 기둥과 중국 연대기의 일화를 그려 넣은 그림 주로 왕이나 귀족이 건설한 중국식 사당과 같은 몇몇 중요한 구조물들입니다.

 무앙보란 고대 도시는 방콕 얀나와(YanNawa) 구역의 파이으언(Wat Phai Ngoen) 위치한 원래 건물에서 모든 것을 가져와서라따나꼬신(Rattanakosin) 초기 시대에 태국 궁중에 중국 예술의 상당한 영향을 보여줍니다. 보시다시피 많은 유물과 국내 건물들은 왕과 귀족들에 의해 시작된 중국 건축의 분명한 영향을 보여주고 있습니다

---------------------------------------

คำขวัญประจำจังหวัดกรุงเทพมหานคร

"  กรุงเทพฯ ดุจเทพสร้าง เมืองศูนย์กลางการปกครอง 

วัด วัง งามเรืองรอง เมืองหลวงของประเทศไทย "

------------------

ต้นไม้ ประจำจังหวัดกรุงเทพ "ต้นไทรย้อยใบแหลม"

ชื่อสามัญ : Golden Fig, Weeping Fig

ชื่อทางวิทยาศาสตร์ :  Ficus benjamina

ชื่อวงศ์ : MORACEAE

ชื่ออื่นๆ :   จาเรป (เขมร), ไทร (นครศรีธรรมราช), ไทรกระเบื้อง (ประจวบคีรีขันธ์), ไทรย้อยใบแหลม (ตราด, กรุงเทพฯ)




ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น

  เมืองโบราณ สมุทรปราการ  ( รวบรวม เพื่อ รักษา , สืบสาน เพื่อ สร้างสรรค์ , เปิดประตู เพื่อ ส่งผ่าน) ยินดีต้อนรับสู่เมืองโบราณ พิพิธภัณฑ์เอกช...