71. พระธาตุพนม นครพนม,Phra That Phanom, Nakhon Phanom.

You are here.,คุนอยู่ที่นี่⇙🚩

๗๑. พระธาตุพนม นครพนม

พระธาตุพนมเป็นสิ่งศักดิ์สิทธิ์ที่ชาวไทยและชาวลาวนับถือกันมาแต่โบราณ เชื่อกันว่าเป็นที่ประดิษฐานพระอุรังคธาตุ (กระดูกส่วนหน้าอก) ของพระพุทธเจ้า อยู่ที่วัดพระธาตุพนม อำเภอธาตุพนม จังหวัดพนม องค์เดิมจะมีลักษณะอย่างใดไม่ปรากฏหลักฐาน แต่องค์ที่เป็นรากฐานของลักษณะที่ปรากฏทุกวันนี้ เป็นองค์ที่พระยาสุมิตรธรรมและเจ้านครอื่นๆ จัดการสถาปนาขึ้นตรงที่ตั้งของพระธาตุองค์เดิม ลักษณะลายจำหลักบนแผ่นอิฐประดับพระธาตุพนมเป็นของช่างฝีมืออินเดียคล้ายศิลปะแบบอมราวดี (พุทธศตวรรษที่ ๗-๑๐) ต่อมาพระเจ้าไชยเชษฐาธิราชผู้ครองนครเวียงจันทน์ โปรดเกล้าฯ ให้ก่อเสริมองค์พระธาตุพนมตอนบนเป็นรูปคล้ายลุ้งคว่ำสูงขึ้นไปอีก 

พระธาตุพนมในเมืองโบราณได้ก่อสร้างขึ้นตามแบบรูปเดิม ก่อนที่จะมีการบูรณปฏิสังขรณ์ในสมัยกรุงเทพฯ



71. Phra That Phanom, Nakhon Phanom

Phra That Phanom has been highly revered as a sacred monument for both the Thai and Laotian people for centuries. The Urangkha That (the chest bone relics) of the Lord Buddha is believed to be housed in Phra That Phanom which is located on the grounds of Wat Phra That Phanom, That Phanom District, Nakhon Phanom Province.

The original shape of the upper part of the stupa is not known. Only the existing tower, before it collapsed, was essentially the tower built by Phraya Sumitratham and other local rulers who rebuilt the tower on its original site.




71. 那空帕农达帕农佛塔

那空帕农达帕农佛塔本尊位于那空帕农府,是泰国民众非常敬仰的佛塔。




71. 나콘 파놈 프라 파놈

프라탓 파놈은 태국과 라오스 사람 모두에게 년간 성스러운 유물로 매우 칭송받았습니다. 부처님의 우랑카 (가슴뼈 유물) 나콘 파놈 지방의 파놈 구역의 프라탓 파놈(Phra That Phanom) 위치한 프라탓 파놈에서 보관하고 있다고 전해집니다사리탑의 원래 상부의 모습은 무너지기 전에 존재하는 부분만 있습니다. 프라야 수미트라탐이 처음 탑을 건설했고 다른 지방 통치자들이 탑을 원래 자리에 재건했습니다.

사각 모양으로 재건된 탑의 하부 반쯤은 사각형 모양이고 위로 갈수록 점점 작아집니다. 네면 모두에서 올라가는 모양입니다. 탑의 하부 반쯤은 식물 조형 장식인 아바레스크 무늬, 구름 장식, 말이나 코끼리를 타고 있는 현지 사람들로 꾸며진 벽돌로 이루어져 있습니다. 조각은 인도 양식이며 아마라바티(Amaravati) 예술(기원후 2세기-5세기) 유사합니다. 이후에 비엔티엔의 통치자 프라 차이바 체타 티랏은 독특한 상부 부분을 더해 탑을 더욱 높게 만들었습니다. 지난 세기 동안 여러 재건축되었지만 탑은 원래 형태에서 많이 변형되지 않았습니다.
무앙보란은 라따나꼬신 시대 이전 양식으로 사리탑을 건축했습니다.









ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น

  เมืองโบราณ สมุทรปราการ  ( รวบรวม เพื่อ รักษา , สืบสาน เพื่อ สร้างสรรค์ , เปิดประตู เพื่อ ส่งผ่าน) ยินดีต้อนรับสู่เมืองโบราณ พิพิธภัณฑ์เอกช...