81. เทวรูปสวมหมวกแขก,An Image of Hindu Deity with a Mitred Crown.

You are here.,คุนอยู่ที่นี่⇙🚩

๘๑. เทวรูปสวมหมวกแขก

คติการทำเทวรูปพระนารายณ์สวมหมวกแขก เกิดขึ้นจากลัทธิทางศาสนาพราหมณ์ฮินดู และได้สืบเนื่องมาจนถึงสมัยสมโบร์ไพรกุก กำพงพระ และกุเลน ซึ่งเป็นศิลปกรรมในขณะที่อาณาจักรเจนละเรืองอำนาจ นักโบราณคดีเชื่อกันว่าเป็นศิลปะแบบฟูนัน 

เทวรูปส่วนมากสร้างขึ้นเนื่องในลัทธิไวษณพนิกายมีทั้งยืนตรงและยืนเอี้ยวกาย มักเป็นเทวรูปหินเขียวขนาดเท่าคนหรือใหญ่กว่า สวมหมวกทรงกระบอกหรือคล้ายกับหมวกแขก  ท่อนบนเปลือยเปล่า มี ๔ กร แต่ทว่าส่วนมากชำรุด อยู่ในท่ายืน ส่วนใหญ่เรียกกันว่า “นารายณ์สวมหมวกแขก” ตัวอย่าง เช่น เทวะรูปพระนารายณ์ พบที่โบราณสถานหมายเลข ๑๘ เมืองศรีมโหสถ จังหวัดปราจีนบุรี



81. An Image of Hindu Deity with a Mitred Crown

The creation of the image of Hindu Deity with a Mitred Crown originated from Hinduism beliefs. The unique sculptural style has been popularly adopted through time when the Sombo Praikuk, Kampong Phra and Kulen schools of art prospered in the Chenla Kingdom.

Archaeologists believe that the images belong to the Funan school and were executed based mostly on Hinduism beliefs of the Vishnu sect. These sculptures are normally known as “Vishnu (Narai) with a Mitred Crown”



81. 戴帽神像

戴帽神像为印度风格的神像,神像佩戴印度式帽子。




81. 둥근 왕관을 힌두 조각상 

둥근 왕관을 힌두 조각상은 힌두교에서 시작되었습니다. 독특한 조각상의 형태는 첸라(Chenla) 제국에 솜보 프라이쿳(Sombo Praikuk), 캄퐁 프라(Kampong Phra) 쿠렌(Kulen) 학파의 예술이 번영했을 시기에 대중적으로 받아들여졌습니다.


고고학자는 조각상은 푸난(Funan) 예술에 속하고, 비슈누 종파의 힌두교에 대체로 근거하여 만들어진 것으로 추정합니다. 발견된 조각상은 똑바로 있는 자세 혹은 몸을 살짝 뒤틀어 있는 자세를 취하고 있습니다. 둥근 왕관을 힌두 신의 조각상은 초록색 돌로 만들어졌으며 실제 크기 혹은 조금 크게 제작되었습니다. 조각상은 주로 있는 자세를 취하고 페르시안 왕관과 비슷한 튜브 모양의 왕관을 쓰고 있습니다. 상체는 탈의를 상태이고 4개의 팔은 부서진 발견되었습니다. 조각상은 주로둥근 왕관을 쓰고 있는 비슈누(나라이)” 알려져 있으며 쁘라진 부리(Prachin Buri) 지방의 마호솟(Si Mahosot) 지질학 유적지 18번에서 발견되었습니다.



ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น

  เมืองโบราณ สมุทรปราการ  ( รวบรวม เพื่อ รักษา , สืบสาน เพื่อ สร้างสรรค์ , เปิดประตู เพื่อ ส่งผ่าน) ยินดีต้อนรับสู่เมืองโบราณ พิพิธภัณฑ์เอกช...