23. พระที่นั่งดุสิตมหาปราสาท กรุงเทพฯ,The Dusit Maha Prasat Palace (The Grand Palace).

You are here.,คุนอยู่ที่นี่⇙🚩

๒๓. พระที่นั่งดุสิตมหาปราสาท กรุงเทพฯ

พระที่นั่งดุสิตมหาปราสาทเป็นพระที่นั่งองค์สำคัญใช้เป็นท้องพระโรงว่าราชการ ที่ประทับและที่ประกอบพระราชพิธีสำคัญๆ ของพระมหากษัตริย์ในสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชโปรดเกล้าฯ ให้สร้างขึ้นเมื่อ พ.ศ. ๒๓๓๒ เป็นปราสาททรงจตุรมุข สูงใหญ่เท่ากับพระที่นั่งสุริยาศน์อมรินทร์ครั้งพระนครศรีอยุธยา โดยสร้างขึ้นแทนพระที่นั่งอินทราภิเษกเดิมซึ่งต้องพระอสุนีบาตไฟไหม้ทั้งหลัง นับเป็นปราสาททรงไทยแท้ที่เหลืออยู่สมบูรณ์เพียงแห่งเดียวในประเทศไทย

การสร้างพระที่นั่งดุสิตมหาปราสาทในเมืองโบราณ ได้จากการรวบรวมค้นคว้าหลักฐานจากรูปภาพ จดหมายเหตุ พงศาวดาร ประวัติศาสตร์ และโบราณคดี ภายในพระที่นั่งที่ฝาผนังเหนือช่องหน้าต่างเป็นภาพเขียนเกี่ยวกับพระราชกรณียกิจของรัชกาลที่ ๑ ในด้านต่างๆ ทั้งการปกครอง การศาสนา การสงครามและการติดต่อกับต่างประเทศ และภาพวาดระหว่างช่องหน้าต่างเป็นภาพแสดงพระราชพิธี ๑๒ เดือน ภาพต่างๆ เหล่านี้ได้สื่อให้ผู้เข้าชมได้มีความรู้และความเข้าใจความหมายของการบูรณาการทางสังคม และวัฒนธรรมของบ้านเมืองได้เป็นอย่างดี


23. The Dusit Maha Prasat Palace (The Grand Palace)
In the early Rattanakosin era, the Dusit Maha Prasat palace was an audience hall, where affairs of the state were conducted and royal ceremonies performed. The palace was built by King Rama I in 1806 A.D. The structure is a cruciform building with large high roofs. The Dusit Maha Prasat Palace in the Grand Palace is now the only remaining example of the traditional Thai palace left in Thailand.

The gilded lacquer work between the windows chronicle the yearly succession of state ceremonies which were recorded by King Rama V. More precisely, the murals above the windows depict events of a governmental, religious, military and diplomatic mature and the traditional Thai way of life.


23. 曼谷皇家城堡
曼谷皇家城堡是曼谷皇宫的样板制造的,许多皇室节庆及重要典礼都会在此城堡举行。

23. 두짓 마하 쁘라삿궁전  (대궁전) 

라따나꼬신 시대 초기 두싯 마하 쁘라삿 궁전은 국가 행사가 거행되고 왕족의 의식이 행해진 연회장이었습니다. 궁전은 기원후 1806 라마왕 1(King Rama I) 건설되었습니다. 구조는 높고 커다란 천장이 덮고 있는 십자가 구조입니다. 초기에 궁전은 아유타야의 수리얏 아마린 궁전(Suriyat Amarin Palace)처럼 규모가 컸습니다. 대궁전의 두싯 마하 쁘라삿 궁전은 남아있는 전통 태국 궁전의 예입니다. 라마 3 왕의 통치 기간에 재건하였는데 안타깝게도 1 왕이 최초로 만들었던 초기 기술의 흔적은 없습니다.

 
하지만 무앙보란 고대 도시의 대궁전은 오늘날 존재하는 동일한 궁전을 본떠 만들려고 하지 않았습니다. 꼼꼼한 조사와 예전 사진 현대 문서를 연구하여 무앙보란 고대 도시는 궁전의 예전 모습을 복원하는 성공했습니다.

 
무앙보란의 두싯 마하 쁘라삿 궁전은 구조적 형태로서 현대적인 모습의 홀에서 대단히 많은 변화가 있었습니다. 예를들어 받침대 없이 있는 기둥은 라마 6 통치기간에 원래 궁전에서 제거되었지만, 왕좌의 중간에 재건되었습니다. 열주는 건물의 높고 천장을 받치는 도움을 줍니다. 기둥의 색감과 디자인은 방콕의 프라 체툽온 위몬망카라람(혹은 Wat Pho, Wat Phra Chetuphon Wimonmangkararam) 기대있는 부처상의 받침대에서 본떴습니다. 천장의 양식과 장식은 개인 소장품의 나무 조각의 디자인에서 가져왔습니다. 정교하게 장식된 현관의 정면은 고대 태국 '쁘라삿(Prasat)' 건물의 사진과 일치합니다.

 
사이의 금빛 옻칠 작업은 방콕 톤부리(Thon Buri, Bangkok) (Wat Nang Nong) 있는 그림에서 양식을 가지고 왔습니다. 그림은 라마 5 왕이 기록한 국가 행사의 연간 성공을 나타냅니다. 더욱 정확하게 벽화는 정부, 종교, 군대 외교적 성질의 띄는 행사와 태국 정통 방식의 삶을 모사합니다. 무앙보란은 라마 3 왕부터 꾸준히 전해져온 전통적인 태국 벽화에 사용된 기술과 스타일의 부활을 촉진하기 위해 템파 벽화를 제작했습니다








เมืองโบราณ สมุทรปราการ สถานที่ถ่ายภาพยนต์ซีรีย์ "ศรีอโยธยา"












ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น

  เมืองโบราณ สมุทรปราการ  ( รวบรวม เพื่อ รักษา , สืบสาน เพื่อ สร้างสรรค์ , เปิดประตู เพื่อ ส่งผ่าน) ยินดีต้อนรับสู่เมืองโบราณ พิพิธภัณฑ์เอกช...